ศูนย์การเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี

wi sports betting

       บ้านทุเรียน หรือ อาคาร “ศูนย์การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี” เป็นอาคารหลังแรกในประเทศไทยที่ปลูกสร้างด้วยไม้ทุเรียนนนท์ และเป็นศูนย์รวมความรู้เกี่ยวกับทุเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ที่จะคอยช่วยเหลือเกษตรกรและเป็นแหล่งการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษาและผู้ที่สนใจ โดยมีพนักงานของสวนคอยให้คำแนะนำปรึกษาอย่างเต็มที่  อีกทั้งมีโรงงานยาสูบ   โดยนายต่อศักดิ์ โชติมงคล ผู้อำนวยการยาสูบพร้อมผู้บริหารและพนักงานยาสูบให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง  เพื่อให้โครงการนี้บรรลุจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานของรัฐเอกชนและสถานศึกษาที่มีส่วนสนับสนุนกิจกรรมของศูนย์ฯ    ไม่ว่าจะเป็นการจัดอบอมสัมมนาหรือเยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้ฯ การสนับสนุนดังกล่าวนี้มีคุณค่าสำหรับพี่น้องเกษตรกรชาวสวนทุเรียน เป็นขวัญและกำลังใจ   ในการร่วมอนุรักษ์สวนทุเรียนและผลไม้เมืองนนท์ไว้ให้ลูกหลาน

wi sports betting

 

      เมื่อการก่อสร้างศูนย์การเรียนรู้ได้แล้วเสร็จอย่างเป็นทางการพร้อมให้เยี่ยมชม ทางโรงงานยาสูบและชมรมอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนนนท์  จึงเชิญสื่อมวลชนและแขกผู้มีเกียรติ เข้าเยี่ยมชมและเปิดตัวอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555 

 

wi sports betting


    โดยในครั้งนี้มีนายมณเฑียร สงวนรักษ์ รองผู้อำนวยการสำนักผู้อำนวยการโรงงานยาสูบมาเป็นประธานในพิธีเปิดอาคาร    นายชาตรี   บุนนาค เกษตรจังหวัดนนทบุรี เกษตรอำเภอทุกอำเภอ นางสาวสุวรรณา  โล้สมบูรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางกร่าง  เจ้าหน้าองค์การบริหารส่วนจังหวัดนำโดย นายสนั่น  โตเสือ  ร่วมเป็นเกียรติในการเปิดอาคารศูนย์การเรียนรู้เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี   นอกจากนี้กิจกรรมภายในงานนอกจากจะได้เยี่ยมชมศูนย์การเรียนรู้โรงเรือนอนุบาลกิ่งพันธุ์ทุเรียนยังมีการร่วมปลูกต้นทุเรียน ชมสวนสาธิตที่ปลูกทุเรียนพื้นบ้านมากกว่า 50 พันธุ์   เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพันธุ์พื้นบ้านนนทบุรีให้คงอยู่สืบไป

 ภาพบรรยากาศ วันเปิดตัวศูนย์การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี

        wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

 

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี

    

wi sports betting

     ปัจจุบันพื้นที่ปลูกทุเรียนของจังหวัดนนทบุรีลดลงมาก เนื่องจากหลายสาเหตุประกอบกัน เช่น เหตุการณ์น้ำท่วมที่เกิดขึ้นหลายครั้งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 พ.ศ.2545 พ.ศ. 2549 และล่าสุดเกิดมหาอุทกภัยปี 2554 ส่งผลให้พื้นที่ปลูกทุเรียนเดิมเสียหายเกือบทั้งหมด เหลือพื้นที่ปลูกเพียง 43 ไร่ จากที่เคยมีทุเรียนมากกว่า 100 สายพันธุ์ ปัจจุบันเหลือเพียง 50 กว่าสายพันธุ์เท่านั้น และเมื่อวิกฤตการณ์นั้นผ่านไป ทำให้ชาวสวนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรีบางส่วนเลิกปลูกทุเรียน หันมาปลูกพืชที่ต้นทุนต่ำ และให้ผลผลิตรวดเร็วกันมากขึ้น อีกทั้งมีการขยายตัวของชุมชนเมือง มีการตัดถนนเพิ่มขึ้นหลายเส้นทาง อาจทำให้พื้นที่การปลูกทุเรียนลดลงอย่างรวดเร็ว องค์กรของภาครัฐ โรงงานยาสูบได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะต้องเร่งฟื้นฟูและอนุรักษ์สวนทุเรียนให้คงอยู่และขยายพื้นที่ปลูกให้มากขึ้น จึงให้การสนับสนุน ชมรมอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนนนท์ จัดทำ “โครงการอนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี”ซึ่งเบื้องต้นได้ให้ทุนในการอนุรักษ์และขยายกิ่งพันธุ์ทุเรียนพื้นบ้าน จำนวน 8,000 กิ่ง สนับสนุนการจัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี” โดยหวังให้เมืองนนทบุรีมีพื้นที่สำหรับศึกษาค้นคว้าเรื่องทุเรียนแบบครบวงจร

wi sports betting

  เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2555 โรงงานยาสูบได้จัดงานแถลงข่าวเปิดโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี ณ ห้อง Meeting Roomwi sports betting 1-2  ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติต์ ภายในงานได้รับเกียรติจากท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง  นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ให้เกียรติเป็นประธาน นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑ์แปรรูปจากทุเรียนมาให้ลองชิมมากมาย โดยได้ดาราชื่อดัง โบวี่  อัฐมา ชีวนิชพันธ มาร่วมเชิญท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ชมนิทรรศการและเชิญชิมผลิตภัณฑ์แปรรูปจากทุเรียนอีกด้วย

wi sports betting

   ปิดท้ายด้วยการพูดคุยกับสมาชิกชมรมจากชมรมอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนนนท์ ในหัวข้อ “ร่วมอนุรักษ์ทุเรียนสายพันธุ์แท้แห่งเมืองนนท์กลุ่มสุดท้าย ก่อนจะสูญสายพันธุ์” โดยมีผู้ร่วมสนทนาหลักคือ  นายอดิสรณ์  ฉิมน้อย ผู้นำกลุ่มเกษตรกร พร้อมด้วยสมาชิกชมรมอีก 2 ท่านที่ ถือได้ว่าเป็นมือทองของการปลูกทุเรียน

wi sports betting

 ภาพบรรยากาศ งานแถลงข่าวเปิดโครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทุเรียนพื้นบ้านนนทบุรี           

          wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

wi sports betting

 

 

Visitors: 492,044